วันอาทิตย์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2554

ภาษาอังกฤษ-คำศัพท์พุทธศาสนา

วันนี้ก็จะเป็นาภาคต่อจากครั้งที่แล้วนะครับ
คือจะเป็นคำศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา แต่คราวเป็นจะเป็น
ภาษาบาลี - สันสกฤต (Pāli - Sanskrit) และมีของแถม
ต่อท้ายจะเป็นอะไรต่อลองอ่านดูนะครับ

กรรม    kam (ภาษาไทย)
กรรม    kamma (Pāli)
กรรม    karma (Sanskrit)
กวนอิม    Guānshì Yīn or Guān Yīn (ภาษาจีน)
การนั่งสมาธิด้วยการกำหนดลมหายใจ, อานาปานสติ    anapanasati
กาลามสูตร   the Kalama Sutta

ความทุกข์   dukkha (Pāli)
เจ้าชายสิทธัตถะ    Siddhartha
ชาวพุทธ    Buddhist
ต้นโพธิ์    Bodhi tree
ตัณหา    tanha

ไตรรัตน์, รัตนไตร   tiratana (Pāli)
ไตรรัตน์, รัตนไตร   triratna (Sanskrit)

ไตรสิกขา   the three practices (sila - samadhi - panya)
  ไตรสิกขา-ศีล    sila
  ไตรสิกขา-สมาธิ   Samadhi
  ไตรสิกขา-ปัญญา   panya

เถรวาท     thaviravāda (Sanskrit)
เถรวาท    theravada
เถรวาท    theravāda (Pāli)
ธรรมจักร  Dharmachakra
     (สัญลักษณ์ของพุทธศาสนา)
ธรรมะของพระพุทธเจ้า  Buddha's Dharma

นะโม    namas (Sanskrit)
นะโม    namo (Pāli)

ปฏิจจสมุปบาท   pratitya-samutpada
ปฏิจจสมุปบาท   pratītya-samutpāda (Sanskrit)
ปัญญา    paññā (Pāli)
ปัญญา    prajñā (Sanskrit)

ปาฏิโมกข์     Patimokkha
     (ศีลของพระภิกษุ 227 ข้อและ ศีลของพระภิกษุณี 311 ข้อ)
ปาราชิก   Parajika
พระโคตมหรือพระโคดม  Gautama Buddha
      (พระนามของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน)
พระเจ้าสุทโธทนะ    Shuddhodhana
       (พระบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ)

พระไตรปิฎก Tipitaka (Pāli)
พระไตรปิฎก Tripitaka (Sanskrit)
พระไตรปิฎกหมวดพระวินัยปิฎก   Vinaya Pitaka
        (พระวินัย ได้แก่ประมวลระเบียบข้อบังคับของบรรพชิต
         ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ)
พระไตรปิฎกหมวดพระสุตตันตปิฎก    Sutra Pitaka
        (พระสูตร ได้แก่ประมวลพระพุทธพจน์ที่พระพุทธเจ้า
         ทรงแสดงยังที่ต่างๆ ให้เหมาะกับบุคคล สถานที่
         และเหตุการณ์ มีเรื่องราวประกอบ)
พระไตรปิฎก- พระอภิธรรมปิฎก    Abhidhamma Pitaka
        (พระอภิธรรม) ได้แก่ประมวลคำสอนที่เป็นหลักวิชาการล้วนๆ)

พระไตรปิฎกหมวดพระวินัย    Vinaya Pitaka
พระไตรปิฎกหมวดพระสุตตันตปิฎก   Sutra Pitaka
พระไตรปิฎกหมวดพระอภิธรรม   Abhidhamma Pitaka (Pāli)
พระไตรปิฎกหมวดอภิธรรม    Abhidhamma Pitaka (Pali - Sanskrit)

พระธรรม dhamma (Pāli)
พระธรรม dharma (Sanskrit)
พระธรรม, ธรรมะ Dharma
พระธรรมจักร dhammacakka (Pali)
พระธรรมจักร dharmacakra (Sanskrit)

พระนางประชาบดีโคตมี  Maha Pajapati Gotami
    (ผู้ที่เลี้ยงดูเจ้าชายสิทธัตถะ)
พระนางยโสธรา    Yashodhara
    (พิมพา พระชายาของเจ้าชายสิทธัตถะ)
พระนางสิริมหามายา   Mayadevi
     (พระมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ)

พระนิพพาน   nibbana (Pali)
พระนิพพาน   nibbāna (Pāli)
พระนิพพาน   nípphaan (ภาษาไทย)
พระนิพพาน   nirvana (Sanskrit)

พระพุทธ, พุทธะ    Buddha  (Pāli, Sanskrit)
พระพุทธศาสนาแบบธิเบต   Tibetan Buddhism (Pali - Sanskrit)
พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท  Theravāda Buddhism (Pāli)
พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน   Mahayana Buddhism

พระโพธิสัตว์   bodhisattva
พระภิกขุ     bhikkhu
พระภิกขุ     bhikkhu (Pāli)
พระภิกขุณี  bhikkhuni (Pāli)
พระภิกษุ     bhikshu
พระภิกษุณี bhiksuni

พระวินัย    Vinaya
พระศากยมุนี   Buddha Śākyamuni
พระศากยมุนี    Buddha Shakyamuni
  (อีกพระนามหนึ่งพระนามของพระพทธเจ้า)
พระสงฆ์   Sangha
พระสาลีบุตร   Shariputra

พระสูตร   sutta (Pali)
พระสูตร    Sūtra, sutra (Sanskrit)
พระสูตรในฝ่ายมหายาน   Mahayana sutras
พระอรหันต์   arahat or arahant (Pāli)
พระอรหันต์    arhat (Sanskrit)

พระอวโลกิเตศวร   Avalokiteshvara
พระอวโลกิเตศวร   Avalokiteśvara
พุทธศาสนา   Buddhism
โพธิ   bodhi
มรรค    Magga
มหายาน   Mahayana

มัชฌิมาปฏิปทา, ทางสายกลาง   madhyamā-pratipad (Sanskrit)
มัชฌิมาปฏิปทา, ทางสายกลาง   majjhimā patipadā (Pali)
โมกข์ (ความหลุดพ้นจากกิเลส)   moksa
ลุมพีนี (ที่ประสูติ)   Lumbini
วิมุตติ (ความหลุดพ้นจากกิเลส)   vimutti (Pāli)
ศากยะ (ชื่อตระกูลของเจ้าชายสิทธัตถะ)   Sakya

ศีล 5   Pañcasīla (Pali)
ศีล 5   Pañcaśīla (Sanskrit)
ศีล     sīla (Pāli)
ศีล     śīla (Sanskrit)

สมาธิ samādhi (Sanskrit and Pāli)
สังสารวัฏ Samsara
สัมมา    sammā (Pāli),
สัมมา    samyañc (Sanskrit)
สัมมาสมาธิ   sammā-sati (Pāli)
สัมมาสมาธิ    samyak-samādhi (Sanskrit)

สิทธัตถะ    Siddhartha
   (ผู้ปรารถนาสิ่งใดย่อมได้สิ่งนั้น)
สูญญตาม, ความว่าง   sunyata (Pali - Sanskrit)
หินยาน   hinayana
หินยาน   hīnayāna (Sanskrit)

อนัตตา    anātman (Sanskrit)
อนัตตา    anattā (Pāli)
อภิธรรม   abhidhamma (Pāli)
อภิธรรม    abhidharma (Sanskrit)
อริยมรรค   ariya-mak

อริยสัจ
อริยสัจ 4-ทุกข์     Dukkha (Pāli)
อริยสัจ 4-นิโรธ     Nirodha (Pāli)
อริยสัจ 4-มรรค    Magga (Pāli)
อริยสัจ 4-สมุทัย   Samudaya (Pāli)

อวิชชา   avidyā (Sanskrit)
อวิชชา   avijjā (Pāli)
อานาปานสติ   ānāpānasati (Pāli)
อุบาสก   Upasaka

และของแถมด้วย คำศัพท์ที่เกี่ยวกับเทพในศาสนาฮินดู

นารายณ์ 10 ปาง   ten avatars of Vishnu

มัสยาวตาร    Matsya (อวตารเป็น ปลา)
กูรมาวาตาร    Kurma (อวตารเป็น เต่า)
วราหาวตาร   Varaha (อวตารเป็น หมูป่า)
นรสิงหาวตาร   Narasimha (อวตารเป็นคนครึ่งสิงห์)
วามนาวตาร    Vamana (อวตารเป็นพราหมณ์เตี้ย)
ปรศุรามาวตาร    Parashurama (อวตารเป็นพราหมณ์ถือขวาน)
รามาวตาร    Rama (อวตารเป็นพระราม)
กฤษณาวตาร   Krishna (อวตารเป็น พระกฤษณะ)
พุทธาวตาร    Buddha (อวตารเป็น พระพุทธเจ้า)
กัลกยาวตาร   Kalki (อวตารเป็นบุรษขี่ม้าขาว ชื่อ กัลกี)

เขาไกลาศ (ที่ประทับของพระศิวะ)     Mount Kailasa
ครุฑ (พาหนะของพระนาราณ์)     Garuda
ตรีศูล(อาวุธมีลักษณะเป็น 3 ง่าม)   Trishula (Trident)
เทวดา    Deva
เทือกเขาหิมาลัย   Himalayas

นางสีดา Sita
พระสุรัสวดี  Saraswati
    (พระชายาของพระพรหม)
พระตรีมูรติ  Trimurti
      (การรวมกันของ พระศิวะ,พระนารายณ์, พระพรหม)
พระปราวตีหรือพระอุมาเทวี   Parvati
       (พระชายาของพระศิวะ)
พระพรหม Brahma

พระพิฆเนตร   Ganesha (elephant-headed son of Shiva)
พระราม   Rama
พระลักษมี    Lakshmi
      (พระชายาของพระรายณ์)
พระวิษณุหรือพระนารายณ์   Vishnu
พระศิวะ   Shiva, Siva

พระอินทร์   Indra
ศาสนาฮินดู   Hinduism
ศิวะลึงค์   Shiva Lingam
หนุมาน   Hanuman

อนันตนาคราช   Ananta Shesha
อวตาร   Avatara
เขาไกลาส   Kailāsa
พระนารายณ์   Narayana

* * * * * *

3 ความคิดเห็น:

  1. โห มีประโยชน์มากค่ะ

    ตอบลบ
  2. อยากได้แบบมีคำอ่านด้วยอ่ะครับ พอจะทำอัพเดทให้ได้ไหมครับ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ผมไม่กล้าพิมพ์คำอ่านภาษาไทยครับเพราะกล้วพิมพ์ผิด
      แต่ส่วนมากก่อนออกเสียงคล้ายกับคำไทยอยู่แล้วผม

      ลบ